Different Ways to Monitor Bearing Condition and Reduce Bearing Breakdown in Modern Marine Engines On Ships

The bearings of modern marine engines come with high load carrying capacity and good alloys combination (Sn, Al, Pb etc.), which provide excellent embedding and sliding properties. The ship engineers should know the operating hours of various bearings inside the engine and also plan checks and overhauling procedures accordingly.

It has often been seen that the bearing failure or breakdown occurred well ahead of the running hours. The cost of bearings vary depending upon it’s position. If any major damage or breakdown occurs, the total costing involved increases, as the journal pin of the shaft or of the crank web has high chances of getting damaged. In case of severe bearing damages, the engine bedplate can also get damage. Needless to say, any major repair on the main engine crankshaft or bedplate may cost thousands of dollars.

To avoid such breakdown and minimise costs, various monitoring system can be fitted along with following best practices, to ensure that the bearings complete their running hours without giving any trouble.

Advantage of having a Monitoring System for Marine Engine Bearings:

  • Alarms the ship engineer well ahead of steel to steel contact situation (maximum damage occurs at this level)
  • Easy to install and can be done on retrofit system
  • Inexpensive to install and maintain
  • It senses and provides continuous condition based data for easy monitoring
  • Decreases the schedule open up inspection and hence man hours
  • Removes the possibility of contamination of Internal parts and sump oil when opened up for inspection
  • The engine maker will cut down the manual monitoring (deflection, clearance measurements, etc.) if such systems are applied and approved by them

The bearings of a marine engine can be said is wearing down when:

  • The lining (Babbitt or Tin-Aluminium) is worn away by lining scuffing
  • Wiping of linings due to excessive loading
  • Abrasive wear due to contamination of lube oil
  • Melting out or extensive fatigue of the lining (Babbitt) due to lack in supply of oil or high temperature of the bearing
  • When steel to steel contact occurs

Following are the different ways to safeguard and monitor the main engine bearings:

Manual monitoring methods:

Electronic monitoring methods:

  • Bearing Wear Monitoring (BWM)
  • Bearing Temperature Monitoring (BTM)
  • Water in Oil Monitoring (WIOM)
  • Propeller Shaft Earthing Device

The main aim of the BWM, BTM and WIOM systems is to prevent major bearing damage well ahead of time. This system, however cannot protect the bearing shells but mainly avoid consequential damage of the crankshaft and bedplate in case of severe bearing failures.

The Propeller Shaft Earthing Device however is designed and installed to protect the bearing from spark erosion.

Crankcase inspection:

Crankcase inspection is modelled plan for engineers on ship under the Planned Maintenance System (PMS) to inspection the main engine crankcase space and bearings set up for any abnormality.

Crankshaft Deflection:

The Crankshaft deflection is a procedure to measure the misalignment of the shaft at various levels when compared to the original/last reading of the measured deflection. Normally, this procedure is performed with crankcase inspection. The recorded readings are then interpreted in a graph and compared to the original graph to point out the worn- out or defective bearings which are causing crankshaft misalignment.


Bearing Wear Monitoring :

The principle of the Bearing Wear Monitoring (BWM) system is to measure the vertical position of the crosshead in bottom dead centre (BDC).

The general BWM system monitors all three principle crank train bearings using two proximity sensors forward and aft per cylinder unit, placed inside the frame box. The sensor continuously monitors the guide shoe bottom ends and measures the distance to the crosshead in BDC.


These sensors send the continuously monitored data to an alarm system in the ship’s computer monitoring system. Hence, when there is a notable wear in the main, crankpin or in crosshead bearing, this monitored vertical position will shift and the same will be reflected in the monitoring system of the ship. If this shift reaches the set alarm values for one or more unit, the engineer will be alerted about the situation. This monitoring system is connected to the safety system of the engine which might slow down the engine when the Bearing wear alarms occurs.

Bearing Temperature Monitoring :

The rise in temperature can be considered as an important sign of an abnormality in the engine bearings. If the temperature of the bearing can be monitored and taken into account before it rises to dangerous level, major breakdown of engine crankshaft and bearing arrangement can be prevented. The measurement of bearing temperature can be done by two ways:

Direct Measurement: Using temperature sensors normally fitted at the rear side of the bearing shell

Indirect Measurement: Detecting the temperature of return oil from each bearing in the crankcase

Monitoring Return oil temperature

Temperature monitoring system continuously monitors the temperature of the bearings. In case a specified temperature is recorded, either a bearing shell temperature or bearing oil outlet temperature, an alarm is raised. For shell temperature in main, crankpin and crosshead bearings two high-temperature alarm levels apply.

The first level alarm is indicated in the alarm panel while the second level activates a slow down command. For oil outlet temperature in main, crankpin and crosshead bearings two high temperature alarm levels including deviation alarm apply. The first level of the high temperature/deviation alarm is indicated in the alarm panel while the second level activates a slow down command.

Water in Oil Monitoring :

The Water content in the lubricating oil is a crucial factor for maintaining good bearing condition in the main engine. A significant increase in the water content (typically max. 0.2 vol.%; for a short period up to 0.5 vol.%) can extremely damage engine bearings. The increase in water content will have the following effects in different bearings:

  • Excessive water content will cause the lead overlay, which acts as a running layer, in crosshead bearings (Tin-Aluminium lined) to corrode away
  • Main and crankpin bearings lined with Babbitt or Tin- Aluminium may also suffer irreparable damage from water contamination

These damages can be prevented if the lubricating oil of the engine can be continuously monitored for water contamination.

Two methods can be used for monitoring water contamination:

Manual: By checking the water contamination bi weekly using water in oil test kit provided by the marine engine makers. The major disadvantage of this method is the time gap and discontinuity in the monitoring of water content.

Automatic: By installing a Water In Oil Monitoring System in the engine lube oil system, which will continuously measure the relative humidity in the system oil. A probe in the oil piping system is installed which transmits the signal to a unit intended to calculate the humidity as Water Activity. The major advantage of such system is the continuity in monitoring the water content in oil for early troubleshooting and addition to that, this system is being independent of oil type, temperature or age. The system is connected to the alarm system which will activate an alarm if the water content reaches the set value.

Propeller Shaft Earthing Device

In a vessel, different metals are used to build propeller, hull, bedplate, crankshaft, bearing etc. The current from the cathodic protection system is generally present in these parts, which eventually creates the perfect situation for spark erosion. When two current carrying dissimilar metals are in contact, a sparks travels at the point of contact, which erodes the small metal by making a cavity.

To suppress the effect of galvanic corrosion, especially at the stern part of the ship where the propeller is present, an Impressed Current Cathodic Protection system is used. The propeller shafting is earthed to achieve continuous circuit and to avoid malfunction of the same.

This circuit usually exists when the propeller is at a rest, where a metal to metal contact is made between the shaft and the stern tube liners, or main engine bearings and journals.

However, whilst the shaft is turning the bearing oil film creates an intermittent high resistance which effectively insulates the propeller from the hull structure.

Disclaimer: The authors’ views expressed in this article do not necessarily reflect the views of Marine Insight. Data and charts, if used, in the article have been sourced from available information and have not been authenticated by any statutory authority. The author and Marine Insight do not claim it to be accurate nor accept any responsibility for the same. The views constitute only the opinions and do not constitute any guidelines or recommendation on any course of action to be followed by the reader.

The article or images cannot be reproduced, copied, shared or used in any form without the permission of the author and Marine Insight. 

“ซีพี” ยึดตะวันออกเบ็ดเสร็จ ชิงท่าเรือแหลมฉบัง 8 หมื่นล้าน สัมปทาน 35 ปี

ทุนไทย-เทศ 19 รายแห่ซื้อซองประมูลท่าเรือแหลมฉบังเฟส 3 วงเงิน 8.5 หมื่นล้าน ญี่ปุ่นปะทะจีน “ซี.พี.-อิตาเลียนไทย-ยูนิค” โผล่แจม กองทัพเรือเปิดขายซองอู่ตะเภา 2.9 แสนล้าน ดึงเอกชนร่วมทุน 50 ปี เนรมิตเมืองการบิน 6,500 ไร่ จับตากลุ่มทุนไฮสปีดชิงเค้ก ต่อยอดโครงการ

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า หลังการรถไฟแห่งประเทศไทย (ร.ฟ.ท.) เปิดยื่นซองประมูลรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน ดอนเมือง สุวรรณภูมิ อู่ตะเภา 224,544 ล้านบาท 12 พ.ย.ที่ผ่านมา มี 2 กลุ่มยื่นซอง คือ 1.กิจการร่วมค้า BSR (บีทีเอส-ซิโน-ไทย-ราชบุรีโฮลดิ้ง) และ 2.กิจการร่วมค้า บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง จำกัด และพันธมิตร ประกอบด้วย บจ.เจริญโภคภัณฑ์โฮลดิ้ง (ซี.พี.), บมจ.อิตาเลียนไทยฯ, บจ.ไชน่า เรลเวย์ฯ, บมจ.ช.การช่าง, และ บมจ.ทางด่วนและรถไฟฟ้ากรุงเทพ (BEM)

ล่าสุดการท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) เปิดขายทีโออาร์ท่าเรือแหลมฉบังขั้นที่ 3 ระยะที่ 1 ท่าเทียบเรือ F วงเงิน 84,361 ล้านบาท วันที่ 5-19 พ.ย. 2561 โดยร้อยตำรวจตรีมนตรี ฤกษ์จำเนียร ผู้อำนวยการท่าเรือแหลมฉบังและรักษาการแทนผู้อำนวยการท่าเรือฯ เปิดเผย “ประชาชาติธุรกิจ” ว่า ผลการซื้อซองถึงวันที่ 16 พ.ย.มีเอกชนสนใจ 19 ราย เป็นบริษัทจากประเทศไทยมากกว่าต่างชาติ แต่ไม่สามารถเปิดเผยรายชื่อได้

“มีหลากหลายกลุ่มธุรกิจที่สนใจ จะเปิดยื่นข้อเสนอ 14 ม.ค. 2562 มี 5 ซอง เป็นการลงทุนแบบ PPP Net Cost การท่าเรือจะลงทุนโครงสร้างพื้นฐานให้ 53,490 ล้านบาท เอกชนจะลงทุน 30,871 ล้านบาท พัฒนาท่าเรือและรับสัมปทานบริหาร 35 ปี คาดว่าจะเซ็นสัญญาในเดือน ก.พ. 2562 เสร็จปี 2566 “

รายงานข่าวเปิดเผยว่า เอกชนซื้อทีโออาร์ 19 บริษัท อาทิ ประเทศญี่ปุ่นมี บจ.อิโตชู คอร์ปอเรชั่น, บจ.มิตซุย คอร์ปอเรชั่นและ บจ.ฟูชิตะ คอร์ปอเรชั่น ประเทศจีนมี บจ.ไชน่า ฮาร์เบอร์ เอ็นจิเนียริ่ง, ประเทศไทย เช่น บมจ.อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์, บจ.เจริญโภคภัณฑ์ โฮลดิ้ง (ซี.พี.), บมจ.ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น, บจ.แหลมฉบัง อินเตอร์เนชั่นแนล เทอร์มินัล, กลุ่มท่าทิพย์ เป็นต้น โดยรวมเป็นกลุ่มกิจการร่วมค้า คาดว่าจะมี 3 กลุ่มที่ยื่นซอง

ขณะที่โครงการพัฒนาสนามบินอู่ตะเภาและเมืองการบินภาคตะวันออก พื้นที่ 6,500 ไร่ วงเงิน 290,000 ล้านบาท กองทัพเรือเปิดขายทีโออาร์ ถึง29 พ.ย.นี้ คาดว่าจะได้รับความสนใจจากนักลงทุนไทยและต่างชาติ เนื่องจากเป็นการลงทุนใหญ่ถึง 6 กิจกรรม ได้แก่

1.อาคารผู้โดยสารหลังที่ 3 ชั้นใต้ดินเป็นสถานีรถไฟความเร็วสูง 2.ศูนย์ธุรกิจการค้า การขนส่งภาคพื้น 3.ศูนย์ซ่อมบำรุงอากาศยาน ระยะที่ 2 4.เขตพื้นที่การค้าเสรี (คาร์โก้) 5.ศูนย์ธุรกิจขนส่งโลจิสติกส์

และ 6.ศูนย์ฝึกอบรมบุคลากรด้านการบินและอวกาศ โดยกองทัพเรือจะลงทุนก่อสร้างรันเวย์ที่ 2 และทางขับให้ 17,768 ล้านบาท เอกชนลงทุนส่วนที่เหลือ 272,232 ล้านบาท ได้รับสัมปทาน 50 ปี รัฐจะได้ผลตอบแทนสุทธิไม่ต่ำกว่า 42,725 ล้านบาท

แหล่งข่าวจากวงการรับเหมาก่อสร้างกล่าวว่า โครงการนี้เป็นส่วนเกี่ยวพันกับรถไฟความเร็วสูงเชื่อม 3 สนามบิน คาดว่าจะมีกลุ่มที่ยื่นประมูลรถไฟความเร็วสูงเข้าร่วมด้วย แต่อาจจะต้องร่วมกับผู้ประกอบการรายอื่นด้วย เช่น รับเหมาก่อสร้าง การบิน ดิวตี้ฟรี รีเทล อสังหาฯ โรงแรม อาคารสำนักงาน ซึ่งในทีโออาร์กำหนดนอกจากจะมีประสบการณ์ก่อสร้างและบริหารสนามบินแล้ว ยังต้องมีประสบการณ์ด้านพัฒนาอสังหาริมทรัพย์เชิงพาณิชย์หรือนิคมอุตสาหกรรม

โดยคาดว่าคิง เพาเวอร์และกลุ่มเซ็นทรัลที่ชนะประมูลพื้นที่ดิวตี้ฟรีและร้านค้าภายในอาคารผู้โดยสารแห่งที่ 2 สนามบินอู่ตะเภา น่าจะสนใจเข้าร่วมด้วย

ด้านนายภาคภูมิ ศรีชำนิ กรรมการผู้จัดการ บมจ.ซิโน-ไทยฯ และแหล่งข่าวจาก บมจ.อิตาเลียนไทยฯ กล่าวว่า สนใจจะซื้อทีโออาร์สนามบินอู่ตะเภา


18 รายชิงท่าเรือซื้อซองประมูล ‘มาบตาพุด’ เฟส 3

นางสาวสมจิณณ์ พิลึก ผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (กนอ.) เปิดเผยว่า โครงการท่าเรืออุตสาหกรรมมาบตาพุดระยะ 3 เป็นหนึ่งใน 5 โครงการหลักของรัฐบาลในการเดินหน้าพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกที่จะเริ่มมีการพัฒนาก่อสร้างในปี 2563 โดยโครงการดังกล่าว กนอ.ได้เริ่มเปิดขายเอกสารการ คัดเลือก Request for Proposal (RFP) ตั้งแต่วันที่ 9-21 พฤศจิกายน ที่ผ่านมา ซึ่งการเปิดขายซองทีโออาร์ เป็นตามแผนที่กำหนดไว้

โดยมีผู้สนใจทั้งในประเทศ และต่างประเทศ ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น และเนเธอร์แลนด์ ที่สนใจมาซื้อซอง รวมทั้งสิ้น 18 ราย  ประกอบด้วย 
1. บริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จำกัด (มหาชน)  
2. บริษัท กัลฟ์ เอ็นเนอร์จี ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด (มหาชน)
3. บริษัท ยูนิค เอ็นจิเนียริ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด (มหาชน) 
4. บริษัท ซีเอชอีซี (ไทย) จำกัด
5. บริษัท อิตาเลียนไทย ดีเวล๊อปเมนต์ จำกัด (มหาชน) 
6. บริษัท China Harbour Engineering Co.,Ltd. 
7. บริษัท Tokyo Gas Co.,Ltd. 8. บริษัท พีทีที แทงค์ เทอร์มินัล จำกัด 
9. บริษัท ชิโนไฮโดร คอร์ปอเรชั่น ลิมิเต็ด  
10. บริษัท ไทยแท้งค์เทอร์มินัล จำกัด
11. บริษัท Mitsui & Co., Ltd. 
12. บริษัท ไชน่า คอมมูนิเคชั่น คอนสตรัคชั่น จำกัด  
13. บริษัท China Railway Construction Corporation Limite 
14. บริษัท ผลิตไฟฟ้า จำกัด (มหาชน) 
15. บริษัท Boskalis International B.V.  
16. บริษัท ผลิตไฟฟ้าราชบุรีโฮลดิ้ง จำกัด (มหาชน) 
17. บริษัท Vopak LNG Holding B.V.  
18. บริษัท สหการวิศวกร จำกัด

ทั้งนี้ในวันอังคารที่ 27 พฤศจิกายนนี้ กนอ.จะมีการจัดประชุมชี้แจงให้กับผู้ซื้อซองทั้งหมด 18 บริษัท เพื่อทำความเข้าใจในข้อกำหนด เงื่อนไข และหลักเกณฑ์ พร้อมตอบข้อซักถามรายละเอียดต่างๆ ณ สำนักงานใหญ่ การนิคมอุตสาหกรรม แห่งประเทศไทย (กนอ.) และในวันที่ 28 พฤศจิกายน 2561 จะนำคณะภาคเอกชนดูพื้นที่โครงการท่าเรือฯมาบตาพุดระยะ 3 ที่จังหวัดระยอง เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการเขียนข้อเสนอทางเทคนิค ภายใต้ทีโออาร์ที่กำหนดไว้

นางสาวสมจิณณ์กล่าวว่า กนอ.ได้กำหนดให้มีการยื่นข้อเสนอด้านเทคนิคและราคา ในวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2562 และ คาดว่าการพิจารณาคัดเลือกเอกชนดำเนินการพัฒนาโครงการท่าเรือฯมาบตาพุด ระยะ 3 จะแล้วเสร็จภายในเดือนกุมภาพันธ์ 2562

สำหรับแผนการพัฒนาท่าเรือฯ มาบตาพุด ระยะ 3 คาดว่าจะใช้ระยะเวลาก่อสร้างประมาณ 5 ปี ตั้งแต่ปี 2563-2567โดยใน 3 ปีแรก จะเริ่มงานโครงสร้างพื้นฐาน (Infrastructure) ได้แก่ งานถมทะเล งานขุดลอกร่องน้ำเดินเรือ งานก่อสร้างเขื่อนกันคลื่น เป็นต้น และก่อสร้างระบบสาธารณูปโภค และส่วนที่เหลือจะเป็นการก่อสร้างส่วนท่าเทียบเรือบนพื้นที่ถมทะเล (Superstructure) โดยการพัฒนาท่าเทียบเรือ วัตถุประสงค์เพื่อรองรับการขนถ่ายสินค้า ได้แก่ การก่อสร้างท่าเทียบ เรือสินค้าเหลว ท่าเทียบเรือก๊าซ ท่าเทียบเรือบริการ และคลังสินค้า เป็นต้น หากก่อสร้างแล้วเสร็จคาดว่าจะสามารถรองรับการขนถ่ายสินค้าเหลวได้ประมาณ 15 ล้านตันต่อปี ในอีก 30 ปีข้างหน้า

ผู้สื่อข่าวรายงานว่า เมื่อเร็วๆ นี้ การท่าเรือแห่งประเทศไทย(กทท.) เปิดประมูลในส่วนของ โครงการพัฒนาท่าเรือแหลมฉบัง ระยะที่ 3  พบว่ามีเอกชนสนใจเข้าซื้อซองรวม 32 ราย ได้แก่ จีน ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์ ฮ่องกง อินเดีย สวิตเซอร์แลนด์ เบลเยียม และฮอลแลนด์ เป็นต้น ในส่วนโครงการนี้คาดว่าลงนามสัญญาโครงการ ในช่วงกลางปีหน้า